กองประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในฐานะหน่วยงานหลักด้านนโยบายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศ และหน่วยประสานงานกลางของประเทศภายใต้กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC)

แผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประกอบด้วย 6 สาขา ได้แก่ การจัดการน้ำ การเกษตรและความมั่นคงทางอาหาร การท่องเที่ยว สาธารณสุข การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และการตั้งถิ่นฐานและความมั่นคงของมนุษย์

ยุทธศาสตร์ระยะยาวของประเทศไทย ประกอบด้วย 2 เป้าหมาย ได้แก่ เป้าหมายการมุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) และเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission)

หนึ่งในภารกิจหลักของ กปอ. คือการเสนอแนะเพื่อให้มีการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

เพื่อรับมือกับความเสี่ยงสืบเนื่องจากปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประเทศไทยได้จัดส่งข้อเสนอการมีส่วนร่วมของประเทศ โดยมีเป้าหมายลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ภายหลังปี พ.ศ. 2563 ให้ได้ร้อยละ 30 - 40 จากกรณีปกติ

การขับเคลื่อนนโยบายด้านการเงินเพื่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและพัฒนากลไกถือเป็นภารกิจที่มีความสำคัญ กปอ. มุ่งเน้นการส่งเสริมให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนมีโอกาสเข้าถึงการสนับสนุนทางการเงินจากแหล่งทุนภายใต้กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ

ประเทศไทยได้จัดส่งรายงานแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (NC4) และรายงานความก้าวหน้ารายสองปี ฉบับที่ 4 (BUR4) ต่อ UNFCCC เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2565 และวันที่ 28 ธันวาคม 2565 ตามลำดับ ซึ่งปี พ.ศ. 2562 ประเทศไทยมีปริมาณการก๊าซเรือนกระจก (ไม่รวมภาค LULUCF) เท่ากับ 372,716.86 GgCO2eq หรือปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิ (รวมภาค LULUCF) เท่ากับ 280,728.34 GgCO2eq

ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศภายใต้กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มุ่งมั่นที่จะขับเคลื่อนและเสริมสร้างความร่วมมือกับประเทศต่างๆ ในการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

Trends in Atmospheric CO2 monthly
June 2023: 419.51 ppm
May 2023: 420.50 ppm
April 2023: 420.54 ppm
Last Updated: September 24, 2023
Source: www.noaa.gov

Trends in Atmospheric CO2 monthly

ปฏิทินกิจกรรม

ประกาศรับสมัครงาน

กองประสานการจัดการ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กปอ. รายงานแห่งชาติ รายงานความก้าวหน้ารายสองปี NC BUR
แผนที่นำทางการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยปี 2564-2573 กองประสานการจัดการ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กปอ. บัญชีก๊าซเรือนกระจก การลดก๊าซเรือนกระจก Climate Change NDC-Roadmap NDC กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ผล การลดก๊าซเรือนกระจก mitigation กองประสานการจัดการ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กปอ. บัญชีก๊าซเรือนกระจก Climate Change NAMA NDC มาตรการลดก๊าซเรือนกระจก
เป้าหมาย การลดก๊าซเรือนกระจก target กองประสานการจัดการ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กปอ. บัญชีก๊าซเรือนกระจก การลดก๊าซเรือนกระจก Climate Change เป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจก NAMAs NDC
ผลการประชุมอนุสัญญา กองประสานการจัดการ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กปอ. บัญชีก๊าซเรือนกระจก การลดก๊าซเรือนกระจก Climate Change อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ COP ความตกลงปารีส Paris Agreement
การลดก๊าซเรือนกระจก mitigation กองประสานการจัดการ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กปอ. บัญชีก๊าซเรือนกระจก Climate Change ระบบติดตามผล การดำเนินงาน NDC NAMA
กองประสานการจัดการ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กปอ. รายงานแห่งชาติ รายงานความก้าวหน้ารายสองปี NC BUR
กองประสานการจัดการ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กปอ. แจ้งเรื่องร้องเรียน

NEWS

สผ. ประชุมคณะทำงานบูรณาการการดำเนินงานด้านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศ ครั้งที่ 1/2566

หารือความร่วมมือระหว่าง สผ. ทช. และ GIZ เพื่อกำหนดกรอบการขับเคลื่อนงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเลและชายฝั่ง

สผ. ร่วมเปิดการประชุม 2023 Forum of Standing Committee on Finance: Financing Just Transitions

สผ. เข้าร่วมพิธีเปิดศูนย์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม

สผ. ร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูลการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการมุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอนกับกระทรวงเศรษฐกิจ การค้าและอุตสาหกรรมญี่ปุ่น (Minister of Economy, Trade and Industry: METI) ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น

สผ. ร่วมศึกษาดูงานด้านการดักจับและกักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์ ณ เมืองโทมาโกไม ประเทศญี่ปุ่น

สผ. ร่วมศึกษาดูงานด้านเชื้อเพลิงไฮโดรเจน ที่ Toyosu Hydrogen Refueling Station, ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น

สผ. ร่วมกับ GIZ จัดประชุมหารือเกี่ยวกับกรอบการดำเนินงานการศึกษามาตราการ CBAM ของสหภาพยุโรปและการเตรียมความพร้อมภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย ระยะที่ 2 (Strengthening Thailand's policies and industries in response to CBAM implementation phase II)

เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็มแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีประจำประเทศไทยเข้าพบ รมว.ทส. เพื่ออำลาในโอกาสพ้นจากหน้าที่

สผ. ร่วมผนึกกำลังประกาศความพร้อม “ขับเคลื่อนกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม”

สผ. ร่วมกับ UNDP จัดประชุม Local Project Appraisal Committee: LPAC ภายใต้โครงการจัดทำรายงานความโปร่งใสรายสองปี ฉบับที่ 1 และรายงานแห่งชาติ ฉบับที่ 5 ร่วมกับรายงานความโปร่งใสรายสองปี ฉบับที่ 2 เสนอต่อกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (1BTR/5NC-2BTR)

สผ. จัดประชุมรับฟังความคิดเห็นกลุ่มย่อย (Focus group) ต่อ (ร่าง) เป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกในสาขาเกษตร และมาตรการการ ลดก๊าซเรือนกระจกในรายมาตรการ ภายใต้ NDC2

สผ. ร่วมกับ GIZ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการความร่วมมือไทย-เยอรมัน ด้านพลังงาน คมนาคม และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Thai – German Cooperation on Energy, Mobility, and Climate: TGC-EMC)

สผ. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับข้อ 6 ของความตกลงปารีส

สผ. จัดประชุมคณะอนุกรรมการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ด้านกฎหมาย ครั้งที่ 1/2566

ดาวน์โหลด - สิ่งพิมพ์ รายงาน อินโฟกราฟิก วิดิโอ

เพื่อเผยแพร่ข้อมูลด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และขับเคลื่อนการดำเนินงานของประเทศไทย กปอ. ภายใต้สผ. ได้จัดทำสิ่งพิมพ์ รายงาน ต่างๆ เพื่อสื่อสารไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและผู้ที่สนใจ

คลิกที่นี่

“I am here to express Thailand’s willingness to be more aggressive in addressing the climate change challenges in every way and every means possible, by aiming at reaching carbon neutrality in 2050, and Net Zero GHG Emissions in or before 2065. With the adequate, timely and equitable support of technology transfer and cooperation, and most importantly, the availability of and access to ample green financing facilities, Thailand can increase our NDC to 40%, and reach the Net Zero GHG Emissions in 2050.”

H.E. General Prayut Chan-o-cha

Prime Minister of the Kingdom of Thailand

“I am not a scientist, but I don’t need to be. Because the world’s scientific community has spoken, and they have given us our prognosis, if we do not act together, we will surely perish. Now is our moment for action.”

Leonardo DiCaprio

UN Climate Summit

“You say you love your children above all else, and yet you are stealing their future in front of their very eyes.”

Greta Thunberg

RELATED LINKS

ONEP    MONRE    TGO    PCD    UNFCCC    GCF Thailand