ผลการดำเนินงาน

ผลการดำเนินงานด้านการลดก๊าซเรือนกระจกตามเป้าหมาย NAMAs

ข้อมูลจากรายงานการติดตามประเมินผลการลดก๊าซเรือนกระจกจากมาตรการภาคพลังงาน

ประเทศไทยสามารถลดก๊าซเรือนกระจกได้ทั้งสิ้น 14.34 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2e) คิดเป็นร้อยละ 3.91 จากมาตรการ 5 มาตรการ ดังนี้

มาตรการลดก๊าซเรือนกระจกในภาคพลังงาน

ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้

(MtCO2e)

1.  มาตรการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนประเภทพลังงานธรรมชาติ 0.98
2.  มาตรการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนประเภทพลังงานชีวภาพ 8.04
3.  มาตรการผลิตไบโอดีเซลสำหรับใช้ในภาคขนส่ง 2.83
4.  มาตรการผลิตเอทานอลสำหรับใช้ในภาคขนส่ง 2.07
5.  มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพลังงานไฟฟ้าของ กฟผ. 0.42
รวม 14.34

ประเทศไทยสามารถลดก๊าซเรือนกระจกได้ทั้งสิ้น 37.47 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2e) คิดเป็นร้อยละ 10.21 จากมาตรการ 7 มาตรการ ดังนี้

มาตรการลดก๊าซเรือนกระจกในภาคพลังงาน

ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้

(MtCO2e)

1.  มาตรการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนประเภทพลังงานธรรมชาติ 4.04
2.  มาตรการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนประเภทพลังงานชีวภาพ 8.65
3.  มาตรการผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานธรรมชาติ 0.01
4.  มาตรการผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานชีวภาพ 19.10
5.  มาตรการผลิตไบโอดีเซลสำหรับใช้ในภาคขนส่ง 2.84
6.  มาตรการผลิตเอทานอลสำหรับใช้ในภาคขนส่ง 2.55
7.  มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพลังงานไฟฟ้าของ กฟผ. 0.28
รวม 37.47

ประเทศไทยสามารถลดก๊าซเรือนกระจกได้ทั้งสิ้น 40.14 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2e) คิดเป็นร้อยละ 10.94 จากมาตรการ 9 มาตรการ ดังนี้

มาตรการลดก๊าซเรือนกระจกในภาคพลังงาน

ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้

(MtCO2e)

1.  มาตรการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานธรรมชาติ (แสงอาทิตย์ พลังลม พลังน้ำ) 3.60
2.  มาตรการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานชีวภาพ (ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ ขยะ) 7.96
3.  มาตรการผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานธรรมชาติ (แสงอาทิตย์) 0.01
4.  มาตรการผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานชีวภาพ (ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ ขยะ) 21.35
5.  มาตรการใช้ไบโอดีเซลในภาคการขนส่ง 3.34
6.  มาตรการใช้เอทานอลในภาคการขนส่ง 2.55
7.  มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพลังงานไฟฟ้า (กฟผ.) 0.15
8.  มาตรการผลิตไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าเทคโนโลยีสะอาด (กฟผ.) 0.75
9.  มาตรการเกณฑ์มาตรฐานและติดฉลากอุปกรณ์เบอร์ ๕ (กฟผ.) 0.43
รวม 40.14

ประเทศไทยสามารถลดก๊าซเรือนกระจกได้ทั้งสิ้น 45.68 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2e) คิดเป็นร้อยละ 12.45 จากมาตรการ 9 มาตรการ ดังนี้

มาตรการลดก๊าซเรือนกระจกในภาคพลังงาน

ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้

(MtCO2e)

1.  มาตรการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานธรรมชาติ 3.99
2.  มาตรการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานชีวภาพ 9.86
3.  มาตรการผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานธรรมชาติ 0.02
4.  มาตรการผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานชีวภาพ 23.46
5.  มาตรการใช้ไบโอดีเซลในภาคการขนส่ง 3.32
6.  มาตรการใช้เอทานอลในภาคการขนส่ง 2.92
7.  มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพลังงานไฟฟ้าของ กฟผ. 0.12
8.  มาตรการผลิตไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าเทคโนโลยีสะอาด 1.37
9.  มาตรการเกณฑ์มาตรฐานและติดฉลากอุปกรณ์เบอร์ ๕ 0.62
รวม 45.68

ประเทศไทยสามารถลดก๊าซเรือนกระจกได้ทั้งสิ้น 51.72 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2e) คิดเป็นร้อยละ 14.09 จากมาตรการ 8 มาตรการ ดังนี้

มาตรการลดก๊าซเรือนกระจกในภาคพลังงาน

ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้

(MtCO2e)

1.  มาตรการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานธรรมชาติ 5.53
2.  มาตรการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานชีวภาพ 9.95
3.  มาตรการผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานธรรมชาติ 0.03
4.  มาตรการผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานชีวภาพ 24.04
5.  มาตรการใช้ไบโอดีเซลในภาคการขนส่ง 3.76
6.  มาตรการใช้เอทานอลในภาคการขนส่ง 3.13
7.  มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า (โรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติ และโรงไฟฟ้าลิกไนต์) 4.56
8.  มาตรการเกณฑ์มาตรฐานและติดฉลากอุปกรณ์เบอร์ ๕ 0.72
รวม 51.72

ประเทศไทยสามารถลดก๊าซเรือนกระจกได้ทั้งสิ้น 57.84 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2e) คิดเป็นร้อยละ 15.76 จากมาตรการ 8 มาตรการ ดังนี้

มาตรการลดก๊าซเรือนกระจกในภาคพลังงาน ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้
(MtCO2e)
1.  มาตรการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานธรรมชาติ 7.27
2.  มาตรการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานชีวภาพ 11.10
3.  มาตรการผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานธรรมชาติ 0.034
4.  มาตรการผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานชีวภาพ 26.55
5.  มาตรการใช้ไบโอดีเซลในภาคการขนส่ง 4.18
6.  มาตรการใช้เอทานอลในภาคการขนส่ง 3.34
7.  มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า (โรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติ และโรงไฟฟ้าลิกไนต์) 4.62
8.  มาตรการเกณฑ์มาตรฐานและติดฉลากอุปกรณ์เบอร์ 5 0.75
รวม 57.84

ประเทศไทยสามารถลดก๊าซเรือนกระจกได้ทั้งสิ้น 64.20 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2e) คิดเป็นร้อยละ 17.49 จากมาตรการ 10 มาตรการ ดังนี้

มาตรการลดก๊าซเรือนกระจกในภาคพลังงาน ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้
(MtCO2e)
1.  มาตรการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานธรรมชาติ 7.80
2.  มาตรการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานชีวภาพ 12.04
3.  มาตรการผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานธรรมชาติ 0.03
4.  มาตรการผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทนประเภทพลังงานชีวภาพ 28.69
5.  มาตรการใช้ไบโอดีเซลในภาคการขนส่ง 4.83
6.  มาตรการใช้เอทานอลในภาคการขนส่ง 3.54
7.  มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า (โรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติ และโรงไฟฟ้าลิกไนต์) 5.91
8.  มาตรการเกณฑ์มาตรฐานและติดฉลากอุปกรณ์เบอร์ 5 0.79
9. มาตรการพัฒนาระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน 0.13
10. มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานจากการนำความร้อนทิ้งกลับมาใช้ (ผลิตไฟฟ้าและใช้ภายในโรงงาน) จากอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ 0.45
รวม 64.20
ผลการดำเนินงานด้านการลดก๊าซเรือนกระจกตามเป้าหมาย NDC

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ดำเนินการประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กรมโรงงานอุตสาหกรรม และกรมควบคุมมลพิษ ดำเนินการปรับปรุง (ร่าง) แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 – 2573 รายสาขา ตามข้อสังเกตของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเรียบร้อยแล้ว ปัจจุบันอยู่ระหว่างการเสนอ (ร่าง) แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 – 2573 รายสาขา และ (ร่าง) แผนปฏิบัติการสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนที่นำทางการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ